ปลาชะโด เป็นสัตว์น้ำที่หายาก จัดอยู่ในวงศ์ปลาช่อน และก็มีลักษณะคล้ายปลาช่อน เป็นหนึ่งในปลาที่นักตกปลาต้องการที่จะตกมันได้ ปลาชนิดนี้ชอบความเงียบสงบ แหล่งที่อยู่ของมันก็คือเขื่อนหรือฝ่ายน้ำใหญ่ ปลาชะโด มักจะอยู่ในน้ำใสและลึก ไม่ค่อยมาใกล้ผู้คนเท่าไหร่ เรียกได้ว่าเป็นแหล่งที่อยู่ที่สะอาด ผู้คนจากสิงคโปร์และมาเลเซียต้องการซื้อปลาชะโดไว้บริโภคจำนวนมาก เพราะมีเนื้อให้ค่อนข้างเยอะ ตัวใหญ่ ก้างไม่เยอะเหมือนปลาช่อน เป็นปลากินเนื้อ ปลาชะโดมีลักษณะรูปร่างคล้ายกับปลาช่อนส่วนใหญ่จะอยู่ตามธรรมชาติ แต่ผู้ใดที่เลี้ยงปลาในกระชังก็ต้องระวังปลาชะโดไว้ให้ดีๆ เพราะเป็นปลานักล่า ห่วงถิ่นที่อยู่ของตัวเอง หากมีสัตว์ใดเข้าใกล้ก็อาจจะถูกกินได้ ปลาชะโดสามารถขยายพันธุ์ได้ครั้งหนึ่งจำนวนมาก ซึ่งจะใช้ตัวนี้ก็เป็นศัตรูประดิษฐ์ของปลาในกระชังทีเดียว ทำให้ปลา และพืชที่เลี้ยงในแม่น้ำลดลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ผู้ที่เลี้ยงปลาในกระชังควรจะศึกษาให้ดีๆว่า แหล่งที่วางกระชังนั้นใกล้กับแหล่งที่อยู่ของปลาชะโดหรือไม่ ซึ่งผู้เรียนควรจะระวังในฤดูผสมพันธุ์ของปลาชะโดเป็นอย่างมาก เพราะจะจู่โจมทุกสิ่งที่เข้าใกล้ไม่เว้นแม้แต่มนุษย์
ปลาชะโดเป็นศัตรูปลาด้วยกันเอง ซึ่งสามารถทำลายแหล่งที่อยู่ของลูกปลาที่กำลังเจริญเติบโตได้ หากมีเยอะเกินไป ก็จะทำลายระบบนิเวศ หากคุณต้องการเลี้ยงปลาชะโดเพื่อส่งออก เราก็สามารถที่จะเลี้ยงเดี่ยวๆได้ ซึ่งต้องใช้พื้นที่เยอะ เดี๋ยวต้องใช้บอกอย่างน้อย 10 ไร่ มีความลึก 2.5 เมตร อาหารของปลาชะโดต้องเป็นปลาทะเลบดละเอียด หาคนเลี้ยง 4000 ตัวต่อรุ่น คุณต้องใช้อาหารวันละ 100 กิโลกรัม ให้แบบวันเว้นวัน และเพิ่มจำนวนอาหารขึ้นเรื่อยๆ เมื่ออายุได้ถึง 16 เดือน ต้องใช้อาหารถึง 2,500 กิโลกรัม หากปลาชะโดตัวใดมีน้ำหนัก 3 กิโลกรัมขึ้นไป ก็สามารถจะขึ้นมาขายได้เลย
ลักษณะของปลาชะโด
ลำตัวกลมยาว เป็นปลาที่มีชนิดที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์ตระกูลปลาช่อน มีลำตัวสีน้ำตาลอมเขียว แต้มดำทั้งตัว กินปลาตัวเล็กเป็นอาหาร มีฟันแหลมคมไว้กัดกินเนื้อปลาตัวอื่น มีนิสัยก้าวร้าว มีอวัยวะพิเศษช่วยหายใจโดยไม่ต้องหายใจผ่านช่องเหงือกเหมือนปลาช่อน ไม่ควรเลี้ยงปลาชะโด เพราะมีนิสัยก้าวร้าว และอาจจะกินกันเอง ควรเลี้ยงตามแหล่งน้ำธรรมชาติ แต่ก็ต้องเป็นพื้นที่ที่มิดชิด ไม่ควรเลี้ยงรวมกับปลาตัวเล็ก ตัวอื่น ไม่อย่างนั้น ปลาตัวเล็กจะกลายเป็นอาหารของปลาชะโดทันที ปลาช่อนและปลาชะโดมีความแตกต่างกันอย่างไรปลาชะโด เป็นญาติใกล้ๆ กับปลาช่อน เป็นตระกูลเดียวกันโตเร็วกว่า แพร่พันธุ์ได้เร็วกว่า และดุร้ายกว่าเป็นเห็นๆ ปลาชะโดเป็นปลาที่ตกยากกว่า ปลาช่อน
รสชาติของปลาชะโด
ปลาชะโด เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปลาแมลงภู่ รสชาติของปลาชะโดที่ถูกปรับแต่งพันธุกรรมมีความโดดเด่น เนื้อนุ่มและแน่น ไม่มีกลิ่นคาว แต่ก็มีรสจืด ไม่มีความหวานเหมือนปลาชนิดอื่นเท่าไหร่ เหมือนปลาชะโดที่เลี้ยงตามธรรมชาติในน้ำจืด คนสิงคโปร์ชอบรสชาติของปลาชะโดเป็นอย่างมาก เป็นโอกาสทองที่คนไทยจะสามารถส่งออกปลาชะโดทำรายได้ให้กับประเทศได้ แต่สำหรับบางคนอาจจะไม่ชอบเนื้อปลาชะโด เพราะรู้สึกเนื้อปลาหยาบเกินไป อาจจะไม่ค่อยถูกใจคนไทยเท่าไหร่นัก และไม่ค่อยนิยมนำมารับประทาน แต่อย่างไรก็ตาม สามารถรับประทานได้ ไม่มีพิษสงอะไร
มาทำความรู้จักกับปลาชะโดอินเดียกันบ้าง
ประเทศอินเดียมีปลามากมายที่ค่อนข้างหายาก พันธ็แปลกๆ ที่คุณอาจจะไม่เคยรู้จักมาก่อน มีปลาชะโดไทยแล้ว ก็มีปลาชะโดอินเดียเหมือนกัน ปลาชะโดอินเดียก็เป็นปลาน้ำจืดเช่นเดียวกัน มีรูปร่างคล้ายกับปลาชะโดบ้านเรา มีพฤติกรรมดุดัน ไม่ควรเข้าใกล้ เพราะอาจจะโดนโจมตีได้ ถึงแม้ว่าจะไม่โหดเท่าปาปิรันย่า แต่ก็โหดมากที่ทำลายลูกปลา และสัตว์น้ำตัวอื่นๆ นิสัยก็เหมือนกันตรงที่เป็นนักล่า และค่อนข้างดุเช่นเดียวกัน เป็นปลาที่กินเนื้อ จัดเป็นปลาเฉพาะถิ่น เพราะ พบได้ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ แถวคาบสมุทรอินเดียเท่านั้น อีกทั้งยังหายากและเป็นปลาที่ไว้เพื่อความสวยงาม มีความเสี่ยงที่จะสูญพันธุ์ เพราะโดนคุกคามจากมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
เมนูปลาชะโดที่คุณอาจจะอยากจะทดลอง
หากคุณอยู่ๆ เผลอตกปลาได้ปลาชะโด ก็ไม่จำเป็นต้องปล่อยไปก็ได้ เพราะว่า สามารถนำมาทำกับข้าวได้ ทำผัดเผ็ด ต้มปลาก็ได้ ส้มปลา หรือห่อหมกก็ดี ทำได้สารพัดเมนู เพียงแต่อาจจะไม่ถูกใจบางคนที่ไม่ชอบ ปลาชะโดสมุนไพร อาจจะช่วยให้คุณได้เปิดใจรับประทานกินปลาชะโดได้ อย่างปลาชะโดทอดสมุนไพร
ส่วนผสม
- เนื้อปลาชะโด หั่นชิ้น
- กระเทียม 5 กลีบ
- ขมิ้น
- เกลือ
- เครื่องปรุงอย่าง ซอสปรุงรส ผงชูรส น้ำมันหอย ใส่ได้ตามใจแล้วแต่คุณจะชอบ
- พริกไทยดำ รากผักชี
- ตะไคร้ที่หั่นละเอียดเรียบร้อย
- รากผักชี
วิธีทำ
- นำปลาชะโดที่ตกได้มาล้างให้สะอาด หั่นเป็นชิ้นสำหรับทอด ไม่เล็ก ไม่ใหญ่เกินไป หั่นเสร็จแล้ว ใส่ลงในกะละมัง หรือภาชนะที่ค่อนข้างใหญ่ นำไปหมักเกลือ ผงชูรส น้ำมันหอย
- นำผักส่วนครัวที่เตรียมไว้ เช่นขมิ้น พริกไทยดำ รากผักชี กระเทียม และ ตะไคร้มาตำให้ละเอียด คลุกกับปลาชะโดให้เรียบร้อย โดยที่หมักทิ้งไว้สักระยะหนึ่งกับปลาชะโดที่หมักไว้ประมาณ 15 นาที ให้ปลาชะโดได้ซึมซับรสชาติของเครื่องปรุงเข้าไป
- ตั้งกะทะ ใส่น้ำมันค่อนข้างเยอะหน่อย เพราะปลาจะได้ไม่ติดกะทะ ทอดจนสุก แล้วตักขึ้นใส่จาน เพียงเท่านี้ปลาชะโดก็จะมีสีสันและอร่อนจึ้นอีกด้วย
สรุป
จากข้อมูลข้างต้นของปลาชะโด คุณก็ได้ทราบแล้วว่า ปลาชะโดมีที่มาอย่างไร ปลาชะโดเป็นปลาดุ และชอบความสงบเงียบ ไม่ค่อยนิยมทานในหมู่คนไทยเท่าไหร่ เพราะมีรสชาติค่อนข้างจืด แต่ประเทศอย่าง ประเทศสิงคโปรกลับนิยมรับประทานเมนูนี้ จากปลาชะโดตัวร้ายที่คอยกินปลาในกระชัง อาจจะสร้างรายได้ให้กับประเทศไทยมากขึ้น เพราะชาวประมงน้ำจืดส่วนใหญ่อาจจะไม่ชอบปลาชะโดเท่าไหร่ ปลาชะโดตกยากก็จริง แต่ถ้าตกได้เป็นอาชีพก็สามารถส่งออกไปขายที่ต่างประเทศที่นิยมกินได้ เรียกได้ว่า เปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาสทำเงินให้กับประเทศนั่นเอง Ufabet เว็บหลัก
Credit : fishingmixs.com goodplantskapook.com takipcisanati.com commentsmoives.com IskenderunEscort.biz