ปลาหมอ ปลาไทย ที่เป็นที่มาของสำนวนไทย

ปลาหมอ ปลาไทย ที่เป็นที่มาของสำนวนไทย

            ปลาหมอ ไทยรู้จักกันในหลายชื่อ ในแต่ละภาคของประเทศไทย มีชื่อเรียกต่างกัน โดยที่ภาคกลางจะเรียกปลาหมอหรือปลาสะเด็ด ภาคอีสานจะเรียกว่าปลาเข็งที่แปลว่าแข็ง  ปลาหมอมีปอดเล็กๆ สามารถเห็นได้ว่า ปลาหมอจะขึ้นมาหายใจในผิวน้ำบ่อย ปลาหมอสามารถทำเมนูอาหารได้หลายอย่าง เป็นปลาประจำถิ่นที่ใครๆก็เคยได้ลิ้มลอง โดยเฉพาะคนต่างจังหวัด  ในสำนวนที่ว่า ปลาหมอตายเพราะปากนั้น มาจากปลาหมอจะขึ้นมาหายใจบนผิวน้ำ คนจับปลาซึ่งอาศัยช่วงเวลานี้ในการจับปลาหมอ โดยการเหวี่ยงแห ลักษณะการดำรงชีวิตของปลาหมอนั้นทำให้ตัวเองโดนจับกิน อีกความหมายหนึ่ง ในสำนวนนี้ก็สามารถแปลได้ว่า เป็นคนที่ไม่มีความลับต่อใคร ความลับนั้นเป็นโทษต่อตัวเอง 

            ปลาหมอเป็นปลาที่มีก้างเยอะ ผู้รับประทานจึงต้องระมัดระวังในการกิน การกินปลาหมอเป็นการฝึกความใจเย็น เพราะว่าถ้าจะให้กินแบบก้างติดคอนั้น ต้องใช้เวลาเกลี่ยออก และยังต้องใช้ลิ้นในการกระจายเนื้อปลาเพื่อหาว่ายังมีก้างเหลืออยู่หรือเปล่า ก่อนที่จะกลืนลงไป เพราะคงไม่มีใครอยากกินเนื้อปลาที่ก้างยังเต็มอยู่ เหมาะกับคนที่ต้องการจะลดน้ำหนักอีกด้วย เพราะใช้เวลาเคี้ยวนาน ทำให้กินอาหารได้น้อยลง  คนรุ่นใหม่จะไม่ค่อยรู้จักปลาหมอเท่าไหร่นัก เพราะกินยาก แล้วก็สามารถหาปลาชนิดอื่นทดแทนได้ ซึ่งปลาหมอนี้จะอยู่ในเมนูกับข้าวพื้นบ้าน หรือแบบโบราณ ที่ไม่ค่อยได้รับการนิยมมากนักเพราะทานยาก แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อย ที่ยังคงอนุรักษ์ไว้อยู่ สำหรับใครที่อยากลองรับประทานปลาหมอแต่ไม่รู้จะ หาลองได้ที่ไหน คุณสามารถเดินทางไปจังหวัดภาคอีสาน หรือภาคเหนือ เพราะคนในภาคอย่างนิยมกินอยู่ 

ประวัติความเป็นมาของ ปลาหมอ 

            ปลาหมอมีเนื้อแน่นก็จริง แต่ในเนื้อแน่นๆนั้นก็มีก้างเต็มไปหมด เป็นปลาเนื้อหวานมันพิเศษ คนจะสามารถเห็นตาหมอขายตามท้องตลาดเยอะขึ้นในเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์  ปลาหมอไทยมีความคงทน สามารถอยู่ในฤดูกาลแห้งแล้ง ปลาหมอเป็นปลาน้ำจืด ที่ผู้คนนิยมกินมาตั้งแต่โบราณ แต่สมัยนี้ก็อาจจะได้รับความนิยมน้อยลง อย่างไรก็ตามก็ยังมีความต้องการของตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ต้องการจะซื้อปลาหมอไปเพาะพันธุ์ เพื่อขายในประเทศของตัวเอง หาซื้อได้ยากในกรุงเทพฯ แต่หากเป็นต่างจังหวัดคุณก็จะสามารถหาได้ตามตลาดมากขึ้น ซึ่งราคาก็ไม่แพงมาก เป็นราคาที่จับต้องได้

            ในฤดูวางไข่ของปลาหมอนั้น เมื่อได้รับการผสมพันธุ์ ปลาหมอเพศเมียจะปล่อยไข่ลงในน้ำ จะวางไข่ในน้ำไหลในฤดูน้ำหลาก ปลาหมอจะไม่มีการดูแลรักษาไข่และตัวอ่อน หากเป็นการเพาะพันธุ์ปลาหมอโดยการใช้ฮอร์โมนกระตุ้น ปลาหมอจะไม่เกิดการผสมพันธุ์อย่างที่ตั้งใจไว้ ดังนั้น การวางไข่แบบธรรมชาติจึงดีที่สุด  ปลาหมอเป็นปลาที่อาศัยอยู่ตามแหล่งธรรมชาติ แต่ปัจจุบันก็มีคนนำมาเลี้ยงเพื่อเพาะพันธุ์ขาย วิธีกินแบบโบราณที่ทำง่ายๆ คือนำปลาหมอมาปิ้ง ในไฟอ่อนๆ วิ่งจนรู้สึกว่าเนื้อปลาหอมออกมา คุณก็จะได้กินปลาหมอร้อนๆ ซึ่งสามารถกินได้ทั้งเปลือกและเนื้อไปในเวลาเดียวกัน ปลาหมอไทยมีก้างเยอะควรจะระวังไม่ให้ติดคอ หากกินๆอยู่แล้ว ก้างติดคอคุณก็สามารถนำข้าวเหนียว ปั้นให้เป็นก้อนพยายามกลืนทั้งก้อนโดยไม่เคี่ยวก็จะสามารถทำให้ก้างปลาติดคอ มันหลุดออกได้ หากยังรู้สึกว่าก้างติดอยู่ในคอลึกเกินไปและไม่สามารถนำออกได้ คุณก็สามารถพบแพทย์ได้เลยทันที ถ้าไม่นำออกคุณก็จะรู้สึกว่ามันระคายคอเป็นอย่างมาก กลืนน้ำลายทั้งทีก็จะรู้สึกเจ็บ 

เมนูปลาหมอ ก้างเยอะ ใช่ว่าจะไม่มีคนชอบ 

            วันนี้เราขอนำเสนอ ฉู่ฉี่ปลาหมอ อาหารไทยโบราณที่หากินได้ยาก มีรสชาติกลมกล่อม เข้มข้นด้วยเครื่องแกงและความมันของกะทิ หากใครได้ลองทานก็คงจะรู้สึกติดใจ เพราะ จะรู้สึกคิดถึงวันวานๆเก่าๆ อาจมีหลายครั้งที่ควรได้รับประทานแต่ไม่รู้ว่าเมนูนี้ชื่ออะไร หากคุณเป็นคนที่อยู่กับคนแก่ คุณตา คุณยายที่มีปัจจุบันมีอายุมากแล้ว ก็จะได้รับประทานเมนูนี้ มาตั้งแต่เด็ก วันนี้เราจะมาแบ่งปันสูตรอาหารโบราณขึ้นชื่อ อย่างฉู่ฉี่ปลาหมอ ถ้าพร้อมแล้วเรามาเริ่มกันเลย 

สิ่งที่คุณต้องเตรียม 

  • ปลาหมอ 4 ตัว 
  • กะทิ 1000 มล. 2 ถุง 1 ถุงใช้ประกอบอาหาร 1 ถุงใช้ราดหน้า 
  • พริกแกง 
  • กะปิ 2 ช้อนโต๊ะ
  • น้ำปลา 2 ช้อนโต๊ะ
  • น้ำตาลปึก 2 ช้อนโต๊ะ
  • ดอกเกลือ ครึ่งช้อนชา 
  • ใบมะกรูด 
  • พริกชี้ฟ้าแดง 

วิธีทำ ฉู่ฉี่ปลาหมอ  

  1. ตั้งกะทะ แล้วเคี่ยวน้ำกะทิ ครึ่งถุง 250 มิลลิกรัม เคี่ยวจนมัน 
  2. ผัดพริกแกงกับกะปิให้หอม 
  3. ตามด้วยปรุงน้ำปลา น้ำตาล และดอกเกลือลงไป 
  4. จากนั้นให้ใส่กะทิอีกครึ่งถุงที่เหลือ ลงไป แล้วรอจนเดือด 
  5. ใส่ปลาหมอที่ขอดเกล็ดออกแล้ว ปิดฝาจนสุก 
  6. หากปลาหมอสุกแล้ว ให้ยกลงจากเตา 
  7. เคี่ยวกะทิอีก 1 ถุงที่เตรียมไว้ 500 มิลลิกรัม หรือ 250 มิลลิกรัม ถ้าชอบกะทิก็ให้เคี่ยวเยอะหน่อย จะได้รู้สึกหวานมัน 
  8. จัดฉู่ฉี่ปลาหมอ ราดด้วยหัวกะทิที่เคี่ยวไว้  โรคด้วยใบมะกรูดและพริกชี้ฟ้าที่ซอยไว้ 

            สรุป

ปลาหมอเป็นปลาก้างเยอะ เนื้อแน่น หอมอร่อยจริง แต่ต้องระวังไม่ให้ก้างติดคอ หากคุณสนใจที่จะทำการเพาะพันธุ์เลี้ยงปลาหมอ ก็สามารถทำได้โดยศึกษาหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต มีหลายแหล่งที่มาน่าเชื่อถือ ปลาหมอนิยมเลี้ยงเป็นอาชีพได้ แต่หากอยากเลี้ยงปลาหมอเพื่อความสวยงามตกแต่งตู้ปลาแล้วล่ะก็ คุณต้องศึกษาว่า ปลาหมอชนิดใดห้ามเลี้ยง เพราะปลาหมอบางชนิด ที่มาจากทะเลเป็นสัตว์อนุรักษ์ ควรจะปลาหมอประเภทนั้นอยู่ตามธรรมชาติดีกว่า หากใครที่อยากลองรับประทานปลาหมอ เมนูแนะนำที่คุณลองแล้วจะติดใจแน่นอน คือ เมนูฉู่ฉี่ปลาหมอ หากินได้ไม่ง่ายแล้วปัจจุบัน คุณสามารถได้ง่ายๆ ที่บ้าน เพียงแค่ต้องรู้แหล่งที่ซื้อปลาหมอ หากเป็นต่างจังหวัดก็หาได้ง่ายหน่อย แต่ถ้าเป็นกรุงเทพ จะคงจะมีบางวันที่แม่ค้ารับมาขายจากต่างจังหวัด หากอยากลอง ก็ลองไปหาแถวตลาดตอนเช้าดูเลย  Ufabet เว็บหลัก

Credit : www.fishingmixs.com www.ComMarineTraffic.com www.healthy-fits.com www.ankarastore.com www.goorucamping.com

FISHING